มนุษย์คือผู้สร้างความรู้
คือวิธ๊การดำเนินชีวิตของคน การจัดการความรู้ เพื่อให้คนได้เข้าถึง และใช้ความรู้
อย่างเมประสิทธิภาพ
Hideo
Yamazaki (ฮิเดโอะ
ยามาซากิ)
ข้อมูลสังเคราะห์จนได้สารสนเทศคิดเปรียบเทียบ
เชื่อมโยงจนได้ความรู้นำไปใช้งานจนแก่งกลายเป็นปัญญา
Davenport
and Prusak
ส่วนประกอบสบการณ์
คุนค่าสารสนเทศ ที่เป็นสภาพแว้ดล้อมและกรอบการทำงานสำหรับการประเมิน
และร่วมกันของประสบการณ์และสารสนเทศใหม่
Peter
Senge
องค์กรแห่งการเรียนรู้คือสถานที่ก่อเกิดซึ่งทุกคน
สามารถขยายศักยภาพของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถผลงานซึ่งเป็นรูปแบบ
การคิดใหม่ๆ หลากหลายแต่ละคน มีอิสระ ที่สร้างแรงบันดานใจ และทุกคนต่างๆเรียนรู้
วิธีการเรียนรู้ด้วยกัน
Peter
Drycker
การจัดการความรู้มีความหมายเกี่ยวข้องกับคนที่เป็นเรื่องของการปฏิบัติสัมพันธ์ระหว่างบุคคลไม่ใช่คอมพิวเตอร์หรือไม่ใช่
ในเรื่องของเอกสารดั้งนั้น การจัดการความรู้จึงเป็นในเรื่องของเครือข่าย
การวางตัวของบุคคลการติดต เป็นต้น
ประเวช
วะสี
การเรียนรู้ของทุกคน
เป็นศีลธรรมพื้นฐาน
คือการเคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นคนของทุกคนที่เท่าเทียมกัน
เป็นความรู้ที่ทุกคน เข้ามาพิสูจน์ได้ ว่าจริงหรือไม่ พิสูจน์ได้ด้วยตนเอง
แต่ถ้าความรู้ จำกัดอยู่เฉพาะคน จะไม่ใช่วิทยาศาสตร์
วิจารณ์
พานิช
เป็นความรู้ที่สร้างขึ้น
โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือวิธีการมีการจำแนกเน้นความป็นเหตุเป็นผล พิสูจน์ได้
โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธิการจำแนกแยกแยะเป็นความรู้ที่เป็นความลึก
ความเป็นวิชาการเฉพาะด้าน
ประพนธ์
ผาสุกยืด
ความที่เห็นได้ชัดเจน
มีส่วนที่เป็นความรู้ฝั่งลึกที่อธิบายค่อนข้างยาก มีความรู้ซ้อนเร่น
เป็นความรู้ที่ฝั่งลึก
สรุป ความรู้หมายถึง
การประกอบกิจการหรือดำเนินการใดๆความรู้ คือ ปัจจัยสำคัญที่จะทำให้สิ่งที่ลงมือกระทำนั้นประสบความสำเร็จได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ในบางครั้งความรู้ก็เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ยากเนื่องจากมีนิยามความหมายที่กว้าง หรือไม่สามารถกำหนดขอบเขตและเข้าใจได้ว่าสิ่งใดถือเป็นความรู้หรือเป็นข้อเท็จจริงที่เราควรนำมาปฏิบัติ
1. ความรู้โดยนัยหรือความรู้ที่มองเห็นไม่ชัดเจน (Tacit Knowledge)สรุป ความรู้หมายถึง
การประกอบกิจการหรือดำเนินการใดๆความรู้ คือ ปัจจัยสำคัญที่จะทำให้สิ่งที่ลงมือกระทำนั้นประสบความสำเร็จได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ในบางครั้งความรู้ก็เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ยากเนื่องจากมีนิยามความหมายที่กว้าง หรือไม่สามารถกำหนดขอบเขตและเข้าใจได้ว่าสิ่งใดถือเป็นความรู้หรือเป็นข้อเท็จจริงที่เราควรนำมาปฏิบัติ
ประเภทของความรู้
จัดเป็นความรู้อย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งเป็นทักษะหรือความรู้เฉพาะตัว ของแต่ละบุคคลที่มาจากประสบการณ์ ความเชื่อหรือความคิดสร้างสรรค์ในการปฏิบัติงาน เช่น การถ่ายทอดความรู้ ความคิด ผ่านการสังเกต การสนทนา การฝึกอบรม ความรู้ประเภทนี้เป็นหัวใจสำคัญที่ทำให้งานประสบความสำเร็จ เนื่องจากความรู้ประเภทนี้เกิดจากประสบการณ์ และการนำมาเล่าสู่กันฟัง ดังนั้น จึงไม่สามารถจัดให้เป็นระบบหรือหมวดหมู่ได้ และไม่สามารถเขียนเป็นกฎเกณฑ์หรือตำราได้ แต่สามารถถ่ายทอดและแบ่งปันความรู้ได้โดยการสังเกตและเลียนแบบ
2. ความรู้ที่ชัดแจ้งหรือความรู้ที่เป็นทางการ (Explicit Knowledge)
เป็นความรู้ที่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และใช้ร่วมกันในรูปแบบต่างๆ เช่น สิ่งพิมพ์ เอกสารขององค์การ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ อินทราเน็ต ความรู้ประเภทนี้เป็นความรู้ที่แสดงออกมาโดยใช้ระบบสัญลักษณ์ จึงสามารถสื่อสารและเผยแพร่ได้อย่างสะดวก
อ้างอิงจาก
https://www.im2market.com/2016/08/26/3502
https://www.google.com/search?q=Peter+Sene&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjQxJyXqr3gAhUBk3AKHTM-AboQ_AUIDigB&biw=1920&bih=920
https://www.google.com/search?q=Davenport+and+Prusak&oq=Davenport+and+Prusak&aqs=chrome..69i57j0l5.2863j0j7&sourceid=chrome&ie=UTF-8
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น